คณะแพทย์ศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช
หนังสือ รู้จักคาร์บ รู้จักนับ ปรับสมดุล ควบคุมเบาหวาน"
รู้จักปริมาณคาร์บในอาหารแต่ละชนิด ซึ่งช่วยให้เราควบคุมอาหารได้ดีขึ้น
ผู้ดูแลสุขภาพที่ต้องการรักษาน้ำหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ การทราบปริมาณคาร์บที่ควรได้รับในแต่ละมื้อ จะช่วยรักษาน้ำหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ และป้องกันความเสี่ยงเบาหวานได้
ให้พลังงานเร็ว แต่หมดเร็ว ทำให้หิวบ่อย
วันนี้เราจะมาดูกันค่ะว่า เราควรกินคาร์โบไฮเดรตอย่างไร กินปริมาณเท่าไหร่ให้เหมาะสมกับร่างกายของตนเองเพื่อให้ง่ายต่อการเข้าใจเราจะเรียก คาร์โบไฮเดรต ว่า “คาร์บ”
การอนุญาตเกี่ยวกับสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ
หลีกเลี่ยงคาร์โบไฮเดรตเชิงเดี่ยว เช่น น้ำตาลทราย ขนมหวาน และเครื่องดื่มที่มีน้ำตาลสูง
โปรตีนจากเนื้อสัตว์ไม่ติดมัน ไข่ เต้าหู้ และถั่วต่าง นับคาร์บ ๆ
ระบบฝึกอบรมความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพ
คณะกรรมการบริหารโรงพยาบาลวชิระภูเก็ต
คาร์โบไฮเดรตเชิงซ้อน เช่น ข้าวกล้อง ธัญพืชเต็มเมล็ด ถั่วต่าง ๆ
นี่คือเหตุผลที่เราต้องคำนึงถึง "คาร์บ" ที่บริโภคในแต่ละวัน ด้วยการเน้นคาร์บเชิงซ้อนเป็นหลัก รับประทานผักและผลไม้ควบคู่ และ “นับคาร์บ” เพื่อควบคุมปริมาณคาร์บในแต่ละมื้อ ทั้งอาหารหลัก อาหารว่าง รวมถึงเครื่องดื่มที่มีน้ำตาลด้วย
พลังงาน: คาร์โบไฮเดรตเป็นแหล่งพลังงานหลักในอาหาร การนับคาร์โบไฮเดรตช่วยให้คุณรับรู้ปริมาณพลังงานที่คุณได้รับจากอาหารแต่ละมื้อ ซึ่งสามารถช่วยควบคุมน้ำหนักและรักษาสุขภาพได้